วันเสาร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บทที่ ๓ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเดินทางนักท่องเที่ยว

บทที่ ๓ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเดินทางนักท่องเที่ยว
ทฤษฎีต่างๆ เกี่ยวกับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
๑. ทฤษฎีลำดับขั้นแห่งความต้องการการจำเป็น ( Hierarchy of needs )
ทฤษฎีนี้เป็นของ Maslow นำมาอธิบายพฤติกรรมต่างๆของการท่องเที่ยว Maslow ได้กล่าวไว้ว่ามนุษย์จะแสดงพฤติกรรมต่างๆเพื่อตอบสนองความต้องการและการจำเป็นต่างๆ Maslow ได้เสนอความต้องการของมนุษย์ทั้งหลายไว้ ๕ ขั้น ดังนี้
- ความต้องการทางด้านวัฒฯธรรม
- ความต้องการความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต
- ความต้องการด้านสังคม
- ความต้องการด้านที่จะมีชื่อเสียงเกียรติยศ
- ความต้องการความสำเณ็จแห่งตน
๒. ทฤษฎีขั้นบันไดแห่งการเดินทาง ( Travel Career Ladder )
ทฤษฏีนี้คือ Philip Pearce โดยประยุกต์จากของ Maslow
ดังนี้
ความต้องการที่จะได้รับความพึงพอใจอย่างสูงสุด
ผู้อื่นกำหนด
ความตื่นเต้น ความน่าพิศวง ความแปลกใหม่ ความเย้ายวนใจ
ตัวเองกำหนด
ความต้องการลิ้มรส ความหิวกระหาย ความต้องการ การผ่อนคลาย
ความต้องการความปลอดภัยมั่นคง
ผู้อื่นกำหนด
ความต้องการความต้องการความปลอดภัยเช่นคนอื่น
ตัวเองกำหนด
ความต้องการที่จะดำรงชีวิตอยู่อย่างมั่นคง มีความปลอดภัย ความต้องการที่จะคาดคะเนถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและอธิบายความเป็นไปของโลก
ความต้องการสร้างสัมพันธภาพ
ผู้อื่นกำหนด
ความต้องการที่จะรับความเป็นมิตรที่ผู้อื่นหยิบยื่นให้
ตังเองกำหนด
ความต้องการที่จะเป็นมิตรและความรักแก่ผู้อื่น ความต้องการที่จะมีเพื่อน มีคนรู้จักรู้ใจ
ความต้องการความภาคภูทิใจและการพัฒนาตนเอง
ผู้อื่นกำหนด
ความต้องการการยอมรับนับถือจากผู้อื่น ความต้องการมีสถานนภาพอย่างที่คนอื่นมี ความต้องการประสบความสำเร็จเช่นคนอื่น
ตัวเองกำหนด
ความต้องการที่จะพัฒนาทักษะของตนเอง ความต้องการที่จะเรียนรู้ความอยากรู้อยากเห็นความต้องการที่จะมีชัยชนะและทำสิ่งต่างๆได้สำเร็จ ความต้องการที่จะพิชิต
ความต้องการที่จะได้รับความพึงใจอย่างสูงสุด
ความต้องการความสำเร็จแห่งตน และความต้องการที่จะได้รับประสบการณ์อันหลากหลาย
แรงจูงใจวาระซ่อนเร้น ( Hidden Agenda ) ของ Crompton
ความต้องการจำเป็นในขั้นความต้องการทางด้านสังคมของ Maslow แรงจูงใจวาระซ่อนเร้นของ Crompton มี ๗ ประเภทดังต่อไปนี้
๑.การหลีกหนีจากสภาพแวดล้อมที่จำเจ ( Escape from mundance environment )
๒.การสำรวจและการประเมินตนเอง ( Exploration and evaluation of self )
๓. การพักผ่อน ( Relaxation )
๔.ความต้องการเกียรติภูมิ ( Pretige )
๕.ความต้องการที่จะถอยกลับสู่สภาพดั้งเดิม ( Regression)
๖. กระชับความสัมพันธ์ทางเครือญาติ ( Enhancement of kinship relationship )
๗. การเสริมสร้างการปะทะสังสรรค์ทางสังคม ( Facilitation of social interaction )
แรงจูงใจในทางท่องเที่ยวในทัศนะของ Swarbrooke
๑.แรงจูงใจในด้านสรีระหรือทางกายภาพ
๒. แรงจูงใจทางด้านวัฒณธรรม
๓. การท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองอารมณ์ความรู้สึกบางอย่าง
๔. การท่องเที่ยวเพื่อให้ได้มาเพื่อสถานะภาพ
๕. แรงจูงใจในการพัฒนาตนเอง
๖. แรงจูงใจส่วนบุคคล
แนวโน้มของแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
๑. แรงจูงใจที่จะได้สัมผัสสิ่งแวดล้อม
๒. แรงจูงใจที่จะได้พบปะคนในท้องถิ่น
๓. แรงจูงใจที่จะเข้าใจในวัฒณธรรมท้มองถิ่นและประเทศเจ้าบ้าน
๔. แรงจูงใจที่จะเสริมสร้างสัมพันธภาพภายในครอบครัว
๕. แรงจูงใจที่จะได้พักผ่อนในสถาพแวดล้อมที่น่าสบาย
๖.แรงจูงใจที่จะที่จะได้ได้ทำกิจกรรมที่นัก่องเที่ยวสนใจฝึกทักษะ
๗. แรงจูงใจที่จะมีสุขภาพดี
๘. แรงจูงใจที่จะได้รับการคุ้มครองและความปลอดภัย
๙.แรงจูงใจที่จะได้รับการยอมรับนับถือและได้รับสถานภาพทางสังคม
๑๐. แรงจูงใจที่จะให้รางวัลแก่ตัวเอง
ตัวอย่างการวิจัยที่ใช้วิธีการศึกษาจากกลุ่มเป้าหมาย
๑. การหลีกหนี
๒. การมุ่งเน้นในเรื่องสิ่งแวดล้อม
๓. การทำงาน
๔. เน้นการคบหาสมาคม
โครงสร้างพื้นฐานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
๑.ระบบไฟฟ้า
๒.ระบบปะปา
๓.ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
๔. ระบบการขนส่ง
๕. ระบบสาธารณสุข
ที่มา : วรรณา วงษ์วานิช. ๓ูมิศาสตร์การท่องเที่ยว. กรุงเทพ.
ดรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,๒๕๔๖.สำนักงานสภาการศึกษา.ความหมายของวัฒนธรรม
เอกสารประกอบคำสอนวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว HT 201









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น