การ พัฒนาเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศในมุมมองของวิชาการ เกาะเกร็ดและเติบโตและพัฒนาด้านการท่องเที่ยวอย่างรวดเร็วและที่สำคัญคือ เป็นการเติบโตสวนกระแสเศรษฐกิจที่อยู่ในภาวะวิกฤติของประเทศ เหตุผล แนวคิด วิธีการและดำเนินการที่ผลักดันให้การพัฒนานี้ประสบผลสำเร็จ จึงเป็นสิ่งน่าสนใจ การจัดการเชิงรุกเพื่อพัฒนาเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ กระบวนการบริหารการจัดการในการพัฒนาชุมชนเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงนิเวศ ดังมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ การศึกษาความเป็นไปได้ สำรวจสภาพท้องถิ่นของตำบลเกาะเกร็ดแล้วพบว่า เกาะเกร็ดมีศักยภาพเพียงพอที่สามารถจะส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ จึงกำหนดเป็นนโยบายเพื่อพัฒนาเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว โดย เริ่มต้นจากการดำเนินการศึกษาความเป็นไปได้ก่อนดังรายละเอียดต่อไปนี้ ศึกษาประวัติความเป็นมาจากตำราหนังสือเกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมต่าง ๆ นำมาเป็นจุดขาย ทำการสำรวจพื้นที่เกาะเกร็ดตามสภาพความเป็นจริง เพื่อดูสภาพความเป็นอยู่ลักษณะที่อยู่อาศัย สภาพแวดล้อม การประกอบอาชีพ ศิลปวัฒนกรรม และประเพณีดั้งเดิมต่าง ๆ จากการศึกษาดังกล่าวทำให้ทราบถึง
จุดเด่นและจุดด้อย ที่จะเป็นเเรงดึงดูด หรืออุปสรรคต่อการพัฒนา จุดเด่น ด้านสภาพแวดล้อม คือ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นเกาะอยู่ในแม่น้ำเจ้าพระยาที่มีทัศนียภาพที่สวยงาม มีวัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวรามัญ ( มอญ ) ตลอดจนมีวัดที่เป็นโบราณสถาน วัตถุโบราณที่สวยงาม และที่สำคัญที่ตั้งของเกาะเกร็ด ยังอยู่ในบริเวณชานเมืองที่มีการคมนาคมสะดวก
กิจกรรมการพัฒนาชาวบ้าน ฝึกอบรมชาวบ้านให้มีความรู้ความสามรถในการเป็นมัคคุเทศก์จัดฝึกอบรมชาวบ้าน ให้มีความรู้ ทักษะ ในการปั้นเครื่องปั้นดินเผา และการแกะสลักลวดลายเครื่องปั้นดินเผา การพึ่งตนเองด้านรายได้ ชาวบ้านมีความตื่นตัวและกระตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมและช่วยเหลือกัน ในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายสินค้าและบริการให้แก่นักท่องเที่ยวที่มี จำนวนเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดการพัฒนาอาชีพ เช่น การปั้นเครื่องดินเผา การขายอาหาร และสินค้าเกษตรกรรม ซึ่งทำให้เกิดการสร้างรายได้ให้ เเก่ผู้ประกอบการอยู่แล้วเพิ่มขึ้น และผู้ที่ประสบปัญหาจากสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันที่หันกลับมาประกอบอาชีพดั้ง เดิมในท้องถิ่น ของตน ดั้งนั้น ชาวบ้านจึงเห็นสมควรที่จะต้องให้มีการพัฒนาชุมชนเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่อง เที่ยวเชิงนิเวศอย่างต่อเนื่องตลอดไป และให้มีการพัฒนาร่วมกันในทุกด้านโดยได้อาศัยได้เสนอให้มีการจัดตั้งองค์กร ชุมชนและกองทุนการพัฒนาชุมชนเกาะเกร็ดในทุกด้านจากการร่วมทุนของชาวบ้านด้วย กันเอง
ประวัติความเป็นมา
จุดเด่นและจุดด้อย ที่จะเป็นเเรงดึงดูด หรืออุปสรรคต่อการพัฒนา จุดเด่น ด้านสภาพแวดล้อม คือ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นเกาะอยู่ในแม่น้ำเจ้าพระยาที่มีทัศนียภาพที่สวยงาม มีวัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวรามัญ ( มอญ ) ตลอดจนมีวัดที่เป็นโบราณสถาน วัตถุโบราณที่สวยงาม และที่สำคัญที่ตั้งของเกาะเกร็ด ยังอยู่ในบริเวณชานเมืองที่มีการคมนาคมสะดวก
กิจกรรมการพัฒนาชาวบ้าน ฝึกอบรมชาวบ้านให้มีความรู้ความสามรถในการเป็นมัคคุเทศก์จัดฝึกอบรมชาวบ้าน ให้มีความรู้ ทักษะ ในการปั้นเครื่องปั้นดินเผา และการแกะสลักลวดลายเครื่องปั้นดินเผา การพึ่งตนเองด้านรายได้ ชาวบ้านมีความตื่นตัวและกระตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมและช่วยเหลือกัน ในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายสินค้าและบริการให้แก่นักท่องเที่ยวที่มี จำนวนเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดการพัฒนาอาชีพ เช่น การปั้นเครื่องดินเผา การขายอาหาร และสินค้าเกษตรกรรม ซึ่งทำให้เกิดการสร้างรายได้ให้ เเก่ผู้ประกอบการอยู่แล้วเพิ่มขึ้น และผู้ที่ประสบปัญหาจากสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันที่หันกลับมาประกอบอาชีพดั้ง เดิมในท้องถิ่น ของตน ดั้งนั้น ชาวบ้านจึงเห็นสมควรที่จะต้องให้มีการพัฒนาชุมชนเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่อง เที่ยวเชิงนิเวศอย่างต่อเนื่องตลอดไป และให้มีการพัฒนาร่วมกันในทุกด้านโดยได้อาศัยได้เสนอให้มีการจัดตั้งองค์กร ชุมชนและกองทุนการพัฒนาชุมชนเกาะเกร็ดในทุกด้านจากการร่วมทุนของชาวบ้านด้วย กันเอง
ประวัติความเป็นมา
ในรัชสมัยพระเจ้าอยู่ หัวท้ายสระ หลังจากได้ดำเนินการขุดคลองมหาชัยได้แล้วเสร็จในปี จ.ศ.๑๐๘๓ แล้ว ในปีถัดมาได้มีพระราชดำริให้ขุดคลอง เตร็ดน้อย ลัดคุ้งปากคลองบางบัวทองซึ่งอ้อมมากให้เป็นเส้นตรง จากบริเวณใกล้ๆ ท่าเรือปากเกร็ด ตรงไปผ่านหน้า วัดสนามเหนือ วัดกลางเกร็ด ไปทางวัดเชิงเลนซึ่งแต่แรกขุดนั้นเป็นคลองลัดเกร็ด(หรือเตร็ดหมายถึงลำน้ำ เล็กลัดเชื่อมลำน้ำสายใหญ่สายเดียวกัน ) นั้น มีขนาดกว้างเพียง ๖ วา ลึก ๖ ศอก ยาว ๒๙ เส้น แต่เนื่องจากแรงของกระแสน้ำที่ไหลพัดผ่านนั้นแรงมาก จึงได้พัดเซาะตลิ่งพังและขยายความกว้างขึ้นมา จนในปัจจุบันจึงได้กลายเป็น แม่น้ำลัดเกร็ด ไปแล้ว และพื้นที่บนแผ่นดินเดิมซึ่งมีลักษณะเป็นแหลมที่ยื่นออกไปโดยมีแม่น้ำเจ้า พระยาไหลผ่านเป็นรูปเกือกม้า ก็กลายเป็นเกาะชัดเจนขึ้น จึงถูกเรียกว่า “เกาะศาลากุน” เรียกตามชื่อวัดศาลากุน ส่วนตรงปากทางที่ขุดก็เรียกว่า “ปากเกร็ด”
ต่อมาเมื่อมีการตั้งอำเภอปากเกร็ดขึ้น “เกาะศาลากุน” จึงถูกยกฐานะเป็น “ตำบลเกาะเกร็ด” มี 7 หมู่บ้าน ประชาชนในเกาะเกร็ดเป็นชาวไทยเชื้อสายรามัญเดิมเป็นส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพ ทำสวน ค้าขาย และทำเครื่องปั้นดินเผา ประชาชนยังคงรักษา และอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีชาวรามัญไว้อย่างมั่นคง
ที่พักอาหารและสิ่งอำนวยความสะดวก
นนทบุรี พาเลซ
3/19 หมู่ 1 ถ.นนทบุรี 1 ต.สวนใหญ่ อ.เมืองนนทบุรี จ.นนทบุรี 11000
ริเวอร์ไรน์ เพลส เซอร์วิส อพาร์ทเมนท์
9/280 หมู่ 7 ถ.พิบูลสงคราม ต.สวนใหญ่ อ.เมืองนนทบุรี จ.นนทบุรี 11000
เดอะ ไทย เฮ้าส์ นนทบุรี
เครื่องปั้นดินเผาหมู่ 1 เป็นหมู่บ้านที่ทำเครื่องปั้นดินเผา ภาชนะของใช้ชีวิตประจำวัน เช่น กระถาง โอ่งน้ำ ครก สามารถเดินดูการสาธิตการแกะสลักลายเครื่องปั้นดินเผา และเลือกซื้อของที่ระลึกได้
32/4 หมู่ 8 บางเมือง บางใหญ่ นนทบุรี 11140
99/9 หมู่ 3 ถนนบ้านใหม่ ปากเกร็ด นนทบุรี ประเทศไทย 11120
โรงแรม 13 เหรียญ บางใหญ่
56/2 หมู่ 6 ถนนเสาธงหิน บางใหญ่ จ.นนทบุรี 11140
โรงแรม 13 เหรียญ แอร์พอร์ต งามวงศ์วาน
30/19 หมู่ 9 บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี ประเทศไทย 11000
โรงแรม ริชมอนด์ สไตล์ลิส คอนเวนชั่น
69/783-787 ถ.รัตนาธิเบศร์ ต.บางกระสอ อ.เมืองนนทบุรี จ.นนทบุรี 11000
ของที่ระลึก
เครื่องปั้นดินเผาหมู่ 1 เป็นหมู่บ้านที่ทำเครื่องปั้นดินเผา ภาชนะของใช้ชีวิตประจำวัน เช่น กระถาง โอ่งน้ำ ครก สามารถเดินดูการสาธิตการแกะสลักลายเครื่องปั้นดินเผา และเลือกซื้อของที่ระลึกได้
ที่ตั้งและภูมิประเทศ
การพัฒนาเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การ พัฒนาเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศในมุมมองของวิชาการ เกาะเกร็ดและเติบโตและพัฒนาด้านการท่องเที่ยวอย่างรวดเร็วและที่สำคัญคือ เป็นการเติบโตสวนกระแสเศรษฐกิจที่อยู่ในภาวะวิกฤติของประเทศ เหตุผล แนวคิด วิธีการและดำเนินการที่ผลักดันให้การพัฒนานี้ประสบผลสำเร็จ จึงเป็นสิ่งน่าสนใจ การจัดการเชิงรุกเพื่อพัฒนาเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ กระบวนการบริหารการจัดการในการพัฒนาชุมชนเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงนิเวศ ดังมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ การศึกษาความเป็นไปได้ สำรวจสภาพท้องถิ่นของตำบลเกาะเกร็ดแล้วพบว่า เกาะเกร็ดมีศักยภาพเพียงพอที่สามารถจะส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ จึงกำหนดเป็นนโยบายเพื่อพัฒนาเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว โดย เริ่มต้นจากการดำเนินการศึกษาความเป็นไปได้ก่อนดังรายละเอียดต่อไปนี้ ศึกษาประวัติความเป็นมาจากตำราหนังสือเกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมต่าง ๆ นำมาเป็นจุดขาย ทำการสำรวจพื้นที่เกาะเกร็ดตามสภาพความเป็นจริง เพื่อดูสภาพความเป็นอยู่ลักษณะที่อยู่อาศัย สภาพแวดล้อม การประกอบอาชีพ ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีดั้งเดิมต่าง ๆ จากการศึกษาดังกล่าวทำให้ทราบถึง
(เสริมเฟินกะกวางยุ้ย) จุดเด่นและจุดด้อย ที่จะเป็นเเรงดึงดูด หรืออุปสรรคต่อการพัฒนา จุดเด่น ด้านสภาพแวดล้อม คือ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นเกาะอยู่ในแม่น้ำเจ้าพระยาที่มีทัศนียภาพที่สวยงาม มีวัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวรามัญ ( มอญ ) ตลอดจนมีวัดที่เป็นโบราณสถาน วัตถุโบราณที่สวยงาม และที่สำคัญที่ตั้งของเกาะเกร็ด ยังอยู่ในบริเวณชานเมืองที่มีการคมนาคมสะดวก
กิจกรรมการพัฒนาชาวบ้าน ฝึกอบรมชาวบ้านให้มีความรู้ความสามรถในการเป็นมัคคุเทศก์จัดฝึกอบรมชาวบ้าน ให้มีความรู้ ทักษะ ในการปั้นเครื่องปั้นดินเผา และการแกะสลักลวดลายเครื่องปั้นดินเผา การพึ่งตนเองด้านรายได้ ชาวบ้านมีความตื่นตัวและกระตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมและช่วยเหลือกัน ในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายสินค้าและบริการให้แก่นักท่องเที่ยวที่มี จำนวนเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดการพัฒนาอาชีพ เช่น การปั้นเครื่องดินเผา การขายอาหาร และสินค้าเกษตรกรรม ซึ่งทำให้เกิดการสร้างรายได้ให้ เเก่ผู้ประกอบการอยู่แล้วเพิ่มขึ้น และผู้ที่ประสบปัญหาจากสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันที่หันกลับมาประกอบอาชีพดั้ง เดิมในท้องถิ่น ของตน ดั้งนั้น ชาวบ้านจึงเห็นสมควรที่จะต้องให้มีการพัฒนาชุมชนเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่อง เที่ยวเชิงนิเวศอย่างต่อเนื่องตลอดไป และให้มีการพัฒนาร่วมกันในทุกด้านโดยได้อาศัยได้เสนอให้มีการจัดตั้งองค์กร ชุมชนและกองทุนการพัฒนาชุมชนเกาะเกร็ดในทุกด้านจากการร่วมทุนของชาวบ้านด้วย กันเอง
(เสริมเฟินกะกวางยุ้ย) จุดเด่นและจุดด้อย ที่จะเป็นเเรงดึงดูด หรืออุปสรรคต่อการพัฒนา จุดเด่น ด้านสภาพแวดล้อม คือ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นเกาะอยู่ในแม่น้ำเจ้าพระยาที่มีทัศนียภาพที่สวยงาม มีวัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวรามัญ ( มอญ ) ตลอดจนมีวัดที่เป็นโบราณสถาน วัตถุโบราณที่สวยงาม และที่สำคัญที่ตั้งของเกาะเกร็ด ยังอยู่ในบริเวณชานเมืองที่มีการคมนาคมสะดวก
กิจกรรมการพัฒนาชาวบ้าน ฝึกอบรมชาวบ้านให้มีความรู้ความสามรถในการเป็นมัคคุเทศก์จัดฝึกอบรมชาวบ้าน ให้มีความรู้ ทักษะ ในการปั้นเครื่องปั้นดินเผา และการแกะสลักลวดลายเครื่องปั้นดินเผา การพึ่งตนเองด้านรายได้ ชาวบ้านมีความตื่นตัวและกระตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมและช่วยเหลือกัน ในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายสินค้าและบริการให้แก่นักท่องเที่ยวที่มี จำนวนเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดการพัฒนาอาชีพ เช่น การปั้นเครื่องดินเผา การขายอาหาร และสินค้าเกษตรกรรม ซึ่งทำให้เกิดการสร้างรายได้ให้ เเก่ผู้ประกอบการอยู่แล้วเพิ่มขึ้น และผู้ที่ประสบปัญหาจากสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันที่หันกลับมาประกอบอาชีพดั้ง เดิมในท้องถิ่น ของตน ดั้งนั้น ชาวบ้านจึงเห็นสมควรที่จะต้องให้มีการพัฒนาชุมชนเกาะเกร็ดให้เป็นแหล่งท่อง เที่ยวเชิงนิเวศอย่างต่อเนื่องตลอดไป และให้มีการพัฒนาร่วมกันในทุกด้านโดยได้อาศัยได้เสนอให้มีการจัดตั้งองค์กร ชุมชนและกองทุนการพัฒนาชุมชนเกาะเกร็ดในทุกด้านจากการร่วมทุนของชาวบ้านด้วย กันเอง
การเดินทางไปเกาะเกร็ด
รถยนต์ส่วนตัว จากห้าแยกปากเกร็ดให้ตรงไปท่าน้ำปากเกร็ดประมาณ 1 กม. จะเห็นป้ายบอกทางเข้าวัดสนามเหนือ ให้เลี้ยวซ้ายไปประมาณ 500 ม. จอดรถไว้ที่วัดสนามเหนือ แล้วลงเรือข้ามฟากที่ท่าเรือวัดสนามเหนือไป เกาะเกร็ด ค่าเรือ 2 บาทรถประจำทาง สาย 32, 51, 52, 104, ปอ. 5 และ ปอ. 6 ไปลงท่าน้ำปากเกร็ด แล้วเดินไปวัดสนามเหนือ หรือนั่งสามล้อถีบ แล้วลงเรือข้ามฟากไปเกาะเกร็ดเรือด่วนเจ้าพระยา จากท่าช้าง มีเรือ การเดินทางไปเกาะเกร็ด เฉพาะวันเสาร์ - อาทิตย์
ข้อมูลทั่วไป
- ค่าโดยสารไปรอบเกาะ ผู้ใหญ่ 50 บาท เด็ก 25 บาท
- เรือออกเวลา 10.00 - 17.00 น. (ทุก 1 ชม.)
- เรือหางยาวเหมาลำ นั่งได้ประมาณ 10 คน ราคา 350 บาท
เส้นทางการคมนาคม การเดินทางเข้าสู่ตำบล การเดินทางไปเกาะเกร็ด :
การเดินทางไป สู่ตำบล เกาะเกร็ด ทำได้ดังนี้ :
1) การ เดินทางไปเกาะเกร็ด โดยทางรถยนต์ เดินทางไปที่ห้าแยกปากเกร็ด แล้วขับตรงไปยังท่าน้ำเทศบาล และข้ามฟาก โดยเรือข้ามฟากไปยังเกาะเกร็ด
2) การ เดินทางไปเกาะเกร็ด โดยทางรถยนต์ ก่อนจะถึงท่าเรือเทศบาล จะมีถนนแยกไปทาซ้าย ขับตรงไป จะมีท่าเรือข้ามฟากที่บริเวณวัดสนามเหนือซึ่งจะข้ามไปยังวัด ปรมัยยิกาวาสวรวิหาร
3) การ เดินทางไปเกาะเกร็ด โดยทางเรือ ใช้บริการเรือด่วนเจ้าพระยาซึ่งเปิดบริการระหว่างเส้นทาง วัดราชสิงขร เขตยานนาวาถึงท่าน้ำวัดเตย อำเภอปากเกร็ดทุกวัน ตั้งแต่เวลา 06.00-18.00ไปเกาะเกร็ดต้องปั่นจักรยาน สบาย ใจไปกับอากาศที่เกาะเกร็ด ซึ่งไร้ควันพิษจากรถยนต์ เพราะเกาะเกร็ดไม่มีรถยนต์ มีจักรยานและจักรยานยนต์ ถ้าชอบออกกำลังด้วยการขี่จักรยาน เกาะเกร็ดคือที่เหมาะสม ที่จะ เดินทางไปเกาะเกร็ดการเดินทางไปเกาะเกร็ด นั้นถือว่าเป็น การเดินทาง ที่คุ้มค่า การเดินทางไปเกาะเกร็ด เพื่อชมวิถีชีวิตของชาวมอญ การเดินทางไปเกาะเกร็ด ที่อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพ การเดินทางไปเกาะเกร็ด สะดวก เหมาะกับการพักผ่อน ล่องเรือง เดินทางไปเกาะเกร็ด ชม ช็อป กิน ร่วมไปกับ การเดินทางไปเกาะเกร็ด จ.นนทบุรี
1) การ เดินทางไปเกาะเกร็ด โดยทางรถยนต์ เดินทางไปที่ห้าแยกปากเกร็ด แล้วขับตรงไปยังท่าน้ำเทศบาล และข้ามฟาก โดยเรือข้ามฟากไปยังเกาะเกร็ด
2) การ เดินทางไปเกาะเกร็ด โดยทางรถยนต์ ก่อนจะถึงท่าเรือเทศบาล จะมีถนนแยกไปทาซ้าย ขับตรงไป จะมีท่าเรือข้ามฟากที่บริเวณวัดสนามเหนือซึ่งจะข้ามไปยังวัด ปรมัยยิกาวาสวรวิหาร
3) การ เดินทางไปเกาะเกร็ด โดยทางเรือ ใช้บริการเรือด่วนเจ้าพระยาซึ่งเปิดบริการระหว่างเส้นทาง วัดราชสิงขร เขตยานนาวาถึงท่าน้ำวัดเตย อำเภอปากเกร็ดทุกวัน ตั้งแต่เวลา 06.00-18.00ไปเกาะเกร็ดต้องปั่นจักรยาน สบาย ใจไปกับอากาศที่เกาะเกร็ด ซึ่งไร้ควันพิษจากรถยนต์ เพราะเกาะเกร็ดไม่มีรถยนต์ มีจักรยานและจักรยานยนต์ ถ้าชอบออกกำลังด้วยการขี่จักรยาน เกาะเกร็ดคือที่เหมาะสม ที่จะ เดินทางไปเกาะเกร็ดการเดินทางไปเกาะเกร็ด นั้นถือว่าเป็น การเดินทาง ที่คุ้มค่า การเดินทางไปเกาะเกร็ด เพื่อชมวิถีชีวิตของชาวมอญ การเดินทางไปเกาะเกร็ด ที่อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพ การเดินทางไปเกาะเกร็ด สะดวก เหมาะกับการพักผ่อน ล่องเรือง เดินทางไปเกาะเกร็ด ชม ช็อป กิน ร่วมไปกับ การเดินทางไปเกาะเกร็ด จ.นนทบุรี
อ้างอิง : http://www.nairobroo.com/76/modules.php?name=News&file=article&sid=513
http://www.thaitambon.com/Tambon/tpubdesc.asp?ID=120608
http://www.thaitambon.com/Tambon/tpubdesc.asp?ID=120608
ลักษณะของเกาะเกล็ด
เกาะเกร็ดเป็นเกาะขนาดใหญ่อยู่กลางแม่น้ำเจ้าพระยา มี พ.ท.ประมาณ 2,820 ไร่ มีสถานะเป็นตำบลแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 หมู่ บ้าน อยู่ในเขต พ.ท.อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี แต่เดิมเกาะเกร็ดมิได้เป็นเกาะ แต่เป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินรูปโค้งลักษณะเป็นแหลมยื่นไปตามความโค้ง ของแม่น้ำเจ้าพระยา มีชื่อเรียกมาแต่เก่าก่อนว่า “บ้านแหลม” ครั้นถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าท้านสระแห่งกรุงศรีอยุธยาได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ขุกคลองลัดเพื่อให้การสัญจรสะดวกรวดเร็วขึ้น เรียกว่า “คลองลัดเกร็ดน้อย” ลำคลองกว้างเพียง 6 วา จากตำบลปากอ่าว (ปากเกร็ดในปัจจุบัน) ไปยังแอ่งน้ำซึ่งอยู่ระหว่างวัดกลางเกร็ดและวักป่าฝ้าย (วักป่าเลไลย์) และจากแอ่งน้ำผ่านไปตามคลองเดิมซึ่งอยู่ระหว่างบ้านปากด่าน และวัดชมภูราย ซึ่งปัจจุบันร้างไปแล้ว ครั้นเวลาผ่านไป ความแรงของสายน้ำที่ลัดผ่านไหลตรง ทำให้คลองกว้างขึ้น สภาพความเป็นเกาะจึงเห็นเด่นชัดเรียกกันในขั้นแรกว่า “เกาะศาลากุน” ตาม ชื่อวัดบนเกาะนี้ คือวัดศาลากุนต่อมาเมื่อได้ตั้งอำเภอปากเกร็ดแล้ว เกาะศาลากุนจึงได้มีฐานะเป็นตำบล เรียกว่า ตำบลเกาะเกร็ด ย่านเกาะเกร็ดเป็นชุมชนที่ม่ความเจริญมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย เป็นทั้งชุมทางการค้าขาย และเป็นที่ตั้งด่านตรวจเรือต่างๆ ที่จะเดินทางผ่านไปมายังกรุงศรีอยุธยา ซึ่งแม้ในปัจจุบันชาวบ้านยังเรียกบริเวณลัดเกร็ดตอนใต้ว่าบ้านปากด่าน ประจักษ์พยานที่บ่งชี้ถึงความเจริญแต่เก่าก่อนคือ วัดต่างๆบนเกาะเกร็ด ล้วนมีความสวยงาม และลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็นสิ่งยืนยันว่าเป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัย อยุธยาตอนปลายทั้งสิ้น
เครื่องปั้นดินเผา
แต่เดิมเครื่องปั้นดินเผาเกาะเกร็ดมี 2 ประเภท อย่างแรกคือ เครื่องใช้เช่นโอ่ง อ่าง ครก กระปุก อีกประเภทหนึ่งคือเครื่องปั้นดินเผาประเภทสวยงามที่เรียกว่า ลายวิจิตรที่เป็นทรงโอ่งและ หม้อน้ำซึ่งเน้นความงามองรูปทรงและการสลักลวดลาย เกาะเกร็ดเคยเป็นแหล่งผลิตภาชนะที่ใช้ในชีวิตประจำวันป้อนให้แก่ผู้ใช้แพร่ หลายไปทั่ว แต่ในปัจจุบันไม่สามารถสู้กับสินค้าอุตสาหกรรมได้ ในปัจจุบันความต้องการของตลาดเปลี่ยนไปการผลิตเครื่องปั้นดินเผา จึงเน้นไปทางของที่ระลึก และของตกแต่งบ้าน โอ่ง มีโอ่งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก และโอ่งขนาดกลาง มีชื่อเรียกต่างกันไป อ่าง มีอ่างขนาดต่างๆกันและมีชื่อเรียกต่างกัน เรียงตามขนาดดังนี้ - อ่างกะเทิน มีขนาดใหญ่สุด ใช้สารพัดประโยชน์ - อ่างฮร็อก ใหญ่รองลงมา - อ่างฮแร็ก - อ่างใน 1 อ่างใน 2 อ่างใน 3 อ่างใน 4 ไล่ ขนาดลงมา - อ่างหมา ไว้ใช้ป้อนข้าวเจ้าของชืออ่าง แต่ใช้ประโยชน์อื่นๆได้เช่นกัน -อ่างแมว หรืออ่างตีนตู้ ชาวบ้านชอบนำไปรองตู้กับข้าวเพื่อไม่ให้มดขึ้น กระปุก กระปุกจาโต หรือ กระปุกตีนอิฐ หรือกระปุกเป็ด ที่มีหลายชื่อเพราะลูกค้าแต่ละกลุ่มนำไปใช้ประโยชน์ต่างกัน ถ้าลูกค้าทางหัวเมืองชายทะเลจะซื้อไปใช้อาหารเป็ด ส่วนลูกค้าทางเมืองปทุม สามโคก ซึ่งมีอาชีพทำอิฐขายจะซื้อไปใส่น้ำไว้ล้างมือ กระปุกน้ำตาล ไว้ใส่น้ำตาลปี๊บ น้ำตาลปึกตามชื่อ กระจาวี ไว้ใส่ปูน กระปุกดับถ่าน ครก ครกเกาะเกร็ด แยกตามลักษณะรูปทรงออกเป็นสองแบบคือ ครกธรรมดากับครกตีนช้าง ครกธรรมดาจะมีลักษณะทรงเอวคอด ส่วนครกตีนช้างจะมีส่วนกว้างลักษณะเหมือนตีนช้าง โอ่ง, หม้อ ลายวิจิตร เครื่องปั้นประเภทสวยงามมีหลายรูปทรง หลายประเภทลายแล้วแต่ช่างจะสร้างสรรค์ แต่รูปทรงที่มีแบบหลักๆคือ - โอ่งทรงสูง - โอ่งทรงโกศ - โอ่งทรงแป้น - โอ่งทรงโหล
หันตรา
เป็น ขนมที่มีลักษณะคล้ายกับเม็ดขนุนมาก แต่จะต่างกันก็ตรงที่หันตราจะมีน้ำค้างของไข่ขาว (มีลักษณะเป็นเส้นๆสีขาวๆ)เป็นส่วนที่ช่วยเพิ่มความอร่อย ซึ่งขนมหันตรานี้เป็นขนมที่เลื่องชื่อของเกาะเกร็ดมานาน
วัดปรมัยยิกาวาส
เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร วัดปรมัยยิกาวาส เดิมชื่อวัดปากอ่าว มีอายุ 200 ปี เป็นวัดรามัญมาแต่โบราณ เรียกตามภาษารามัญว่า เภี่ยมุเกี๊ยะเติ้ง แปลว่า วัดหัวแหลม ไทยเรียกวัดปากอ่าว ในปี พ.ศ. 2417 พระสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.5 ได้ เสด็จพระราชดำเนินมาทอดผ้าพระกฐิน ณ.วัดปากอ่าวครั้นเสด็จพระราชทานกฐินแล้ว เสด็จพระราชดำเนินรอบพระอารามทรงเห็นว่าวัดนี้ตั้งอยู่ในทำเลที่ดีแต่ ทรุดโทรมกว่าพระรามอื่นๆจึงทรงมีพระราชศรัทธาที่จะสถาปนาให้ดีขึ้น เพื่อสนองพระเดชพระคุณพระเจ้าบรมหัยยิกาเธอกรมสมเด็จพระสุดา- รัตนราชประยูรผู้ทรงอภิบาลเลี้ยงดูพระราชมารดาและพระองค์แต่ยัง ทรงพระเยาว์ถวาย เป็นการเฉลิมพระเกียรติ จึงมีหมานกำหนดการเสด็จพระราชดำเนินมาเพื่อประกอบราชกุศล แล้วทรงโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนนามพระอารามนี้ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศ พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอกรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูรว่า “วักปรมัยยิกาวาศ” (บรม+อัยยิกา+อาวาศ) แปลว่า วัดของยาย ภายหลังเขียนเป็น วัดปรมัยยิกาวาส สิ่งที่น่าสนใจเกี่ยวกับวัดปรมัยฯ-พิพิธภัณฑ์วัดปรมัยฯ-เป็นแหล่งศิลปกรรมเกี่ยวกับพระศาสนา-โรงทำลูกหนู-สวกภาษามอญ-เป็นสำนักเรียนบาลีรามัญ-เป็นศูนย์รวมของพระสงฆ์และชาวบ้าน
การเดินทาง
- บริการเรือข้ามฟากที่วัดสนามเหนือ (ไม่ไกลจากท่าน้ำปากเกร็ด) ข้ามไปยังวัดปรมัยยิกาวาส (จากวัดวัดปรมัยยิกาวาสสามารถเดินเท้าไปยังวัดอื่นๆได้)ราคาอยู่ที่คนละ 2 บาท มีบริการเรือตั้งแต่ 5.00-21.30 น.- บริการเรือเช่าเหมาไปยังเกาะเกร็ดบริษัท มิตรเจ้าพระยา จำกัด ออกเดินทางจากท่าเรือท่าช้างวังหลวง ทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 8.30 น. - 16.30 น. บริษัท เรือด่วนเจ้าพระยา จำกัด ออกเดินทางจากท่ามหาราช ทุกวันอาทิตย์ เวลา 9.00 - 15.00 น. ราคาต่อท่านประมาณ 150 - 250 บาท สนใจติดต่อโทรศัพท์ 0-2623-6001 - 3 โทรสาร 0-2225-3002- บริการ เรือหางยาวเหมาลำ ชมรอบเกาะ ลำละ 500 บาท ถ้าเข้าคลองขนมหวาน ด้วยราคา 700 บาท แต่ถ้าเช้าเรือเล็กจากท่าปากเกร็ดมาเฉพาะคลองขนมหวาน 150 - 200 บาท- การเช่าเรือเที่ยวรอบเกาะเกร็ด ราคามีตั้งแต่ 350-3,000 บาท ขึ้นอยู่กับระยะทางและขนาดของเรือ ติดต่อที่ท่าเรือวัดปรมัยยิกาวาส หรือจองล่วงหน้าที่ โทร. 584-5012
นั่งเรือรอบเกาะเกร็ด
มีเรือข้ามฟากที่วัดสนามเหนือ ข้ามมาที่ท่าน้ำวัดปรมัยยิกาวาส หากจะนั่งเรือรอบเกาะ มีเรือหางยาว นั่งได้ประมาณ 8 คน เหมาลำลำละ 500 บาท แต่แวะคลองขนมหวาน ราคา 700 บาท เรือเล็กเช่าจากปากเกร็ด เข้าคลองขนมหวาน ราคา 150 – 200 บาท
ล่องคลองบางใหญ่
ล่องคลองบางใหญ่
จากท่าน้ำนนทบุรี มีเรือท้องแบนวิ่งเส้นทางนนทบุรี - คลองอ้อม - คลองใหญ่ ตั้งแต่ 4.00 - 20.00 น. ค่าโดยสาร 6 บาท ใช้เวลา 15-20 นาที
ปัญหาหรือผลกระทบจากการท่องเที่ยวเกาะเกร็ด
ส่วน มากจะเป็นปัญหาทางอ้อมไม่ค่อนรุนแรงเท่าไหร่ ถึงแม้จำนวนนักท่องเที่ยวจะมากก็จริงแต่คือจะทยอยมาตลอดทั้งวันอาจจะมีบ้าง บางเรื่อง เช่น1.เรื่องขยะภายในเกาะคือมีนักท่องเที่ยวมากขยะก็จะเยอะตามนักท่องเที่ยว2.เรื่อง ที่มีมิจฉาชีพแฝงตัวเข้ามาขโมยสิ่งของมีค่า เราก็ควรระวังตัวไว้เพราะว่ามีนักท่องเที่ยวเยอะมากเราไม่รู้ว่าใครปลอมตัว เข้ามาขโมยของเรา3.การเดินทางอาจจะไม่ค่อยสะดวกเท่าไหร่สำหรับคนแก่ หรือเด็ก เพราะว่าต้องนั่งเรือข้ามไป4.ช่วงหน้าน้ำ น้ำจะท่วมทั้งเกาะ นักท่องเที่ยวไม่สามารถเข้าไปได้5.นักท่องเที่ยวบางคนทิ้งขยะลงไปในน้ำ อาจทำให้เกิดปัญหาน้ำเน่าเสียได้
สรุป
ส่วน มากจะเป็นปัญหาทางอ้อมไม่ค่อนรุนแรงเท่าไหร่ ถึงแม้จำนวนนักท่องเที่ยวจะมากก็จริงแต่คือจะทยอยมาตลอดทั้งวันอาจจะมีบ้าง บางเรื่อง เช่น1.เรื่องขยะภายในเกาะคือมีนักท่องเที่ยวมากขยะก็จะเยอะตามนักท่องเที่ยว2.เรื่อง ที่มีมิจฉาชีพแฝงตัวเข้ามาขโมยสิ่งของมีค่า เราก็ควรระวังตัวไว้เพราะว่ามีนักท่องเที่ยวเยอะมากเราไม่รู้ว่าใครปลอมตัว เข้ามาขโมยของเรา3.การเดินทางอาจจะไม่ค่อยสะดวกเท่าไหร่สำหรับคนแก่ หรือเด็ก เพราะว่าต้องนั่งเรือข้ามไป4.ช่วงหน้าน้ำ น้ำจะท่วมทั้งเกาะ นักท่องเที่ยวไม่สามารถเข้าไปได้5.นักท่องเที่ยวบางคนทิ้งขยะลงไปในน้ำ อาจทำให้เกิดปัญหาน้ำเน่าเสียได้
สรุป
เกาะเกร็ดเกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมากระแสน้ำเปลี่ยนทิศทางแรงขึ้น น้ำเซาะตลิ่ง ทำให้คลองขยายจนกลายเป็นเกาะเกาะเกร็ดเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของชาวไทย เชื้อสายมอญ การคมนาคมบนเกาะจะใช้จักรยาน วัดวาอารามต่างๆบนเกาะเกร็ดส่วนมากจะเป็นวัดมอญเกาะ เกร็ด มีความขึ้นชื่อในเรื่องของเครื่องปั้นดินเผา ทอดมันหน่อกะลา และบ้านขนมหวาน โดยเฉพาะเรื่องของเครื่องปั้นดินเผา อันจะเห็นได้จาก ตราสัญลักษณ์ของจังหวัดนนทบุรี ที่เป็นหม้อน้ำลายวิจิตร ซึ่งบ่งบอกว่าคนในจังหวัดยึดการทำเครื่องปั้นดินเผาเป็นอาชีพ และมีชื่อเสียงมาตั้งแต่สมัยโบราณการ เดินทางจะต้องลงเรือข้ามฟากที่วัดสนามเหนือ และขึ้นที่ท่าน้ำวัดปรมัยยิกาวาส โดยที่คนส่วนใหญ่จะไม่พลาดที่จะนมัสการพระพุทธรูปประจำจังหวัดนนทบุรี